Robert Clive ค.ศ. 1757-1760
รายชื่อข้าหลวงของอังกฤษที่เข้ามาปกครองอินเดียสมัยที่อังกฤษเข้าปกครองอินเดียมีดังนี้
ตำแหน่งข้าหลวงมี 6 คน ( The Governors of Bengal )
- โรเบิร์ต ไคลฟ์ ( Robert Clive 1757-1760 )
- โฮเวลล์ ( Holwell 1760-1760 )
- แวนซิททาร์ต ( Vansittart 1760-1765 )
- โรเบิร์ต ไคลฟ์ ( Robert Clive 1765-1767) ครั้งที่ 2
- เวอร์เรลสต์ ( Verelst 1769-1772 )
- คาร์เทียร์ ( Cartier 1769-1772 )
- วอร์เรน เฮสติงส์ ( Warren Hastings 1772-1774 )
ข้าหลวงมีอำนาจหน้าที่
ประสานงานระหว่าบริษัทอินเดียตะวันออกกับรัฐบาลอังกฤษ ตลอดจนให้ความคุ้มครองคนอังกฤษในอินเดีย
ตำแหน่งข้าหลวงใหญ่ ( The Governors General )
- วอร์เรน เฮสติงส์ ( Warren hasting 1774-1785)
- แมคเฟอร์สัน ( Macpherson 1785-1786)
- ลอร์ด คอร์นวอลลิส ( Lord Cornwallis 1786-1793)
- เซอร์ จอห์น ชอร์ ( Sir John Shore 1793-1798)
- ลอร์ด เวลเลสลีย์ ( Lord Wellesly 1798-1805)
- ลอร์ด คอร์นวอลลิส ( Lord Cornwallis 1805-1806)
- เซอร์ จอร์จ บาร์โลว์ ( Sir George Barlow 1806-1807 )
- ลอร์ด มินโต ( Lord Minto 1807-1813 )
- มาร์ควิส เฮสติงส์ ( Marquis Hasting 1813-1823)
- จอห์น อาดัม ( John Adam 1823-1823)
- ลอร์ด อามเฮิร์สต์ ( Lord Amherst 1823-1828 )
- ลอร์ด วิเลี่ยม เบนทิงค์ ( Lord William Bentinck 1828-1835 )
- ชาร์ลส เมทคอลฟ์ ( Charles Metcalfe 1835-1837)
- ลอร์ด อาร์คแลนด์ ( Lord Arcland 1837-1842)
- ลอร์ด เอลเลนโบเราจ์ ( Lord Ellenborough 1842- 1844)
- ลอร์ด ฮาร์ดดิงส์ ( Lord Harding 1844- 1847)
- ลอร์ด ดัลฮูซี ( Lord Dalhousie 1847- 1856)
- ลอร์ด แคนนิ่ง ( Lord Canning 1856 -1858)
ข้าหลวงใหญ่มีอำนาจหน้าที่ สร้างอำนาจจักรวรรดิ์นิยมในอินเดีย เสนอร่างกฎหมาย ข้อบังคับต่างๆไปยังรัฐบาลอังกฤษเพื่อให้กษัตริย์อังกฤษลงพระนามประกาศใช้
ตำแหน่งอุปราช ( Viceroys )
- ลอร์ด แคนนิ่ง ( Lord Canning 1858-1862)
- ลอร์ด เอลจิน ( Lord Elgin 1862 -1863)
- โรเบิร์ต นาเปียร์ และวิลเลี่ยม เดนิสัน ( Robert Napier and William Demison 1863-1864 )
- ลอร์ด ลอร์เรนซ์ ( Lord Lawrence 1864-1869 )
- ลอร์ด เมโย ( Lord Mayo 1869-1872 )
- ลอร์ด นอร์ธบรูค ( Lord Northbrook 1872- 1876 )
- ลอร์ด ลิตตัน ( Lord Lytton 1876-1880)
- ลอร์ด ริปปอน ( Lord Ripon 1880-1884 )
- ลอร์ด ดัฟเฟอรีน ( Lord Dufferine 1884-1888 )
- ลอร์ด แลนส์โดวน์ ( Lord Landsdowne 1888-1894)
- ลอร์ด เอลจิน ( Lord Elgin 1894-1899 )
- ลอร์ด คูร์ซอน ( Lord Curzon 1899-1905 )
- ลอร์ด มินโต ( Lord minto 1905-1910 )
- ลอร์ด ฮาร์ดดิงส์ ( Lord Harding 1910-1916)
- ลอร์ด เชล์มสพอร์ต ( Lord Chelmsford 1916-1921 )
- ลอร์ด รีดดิง ( Lord Reading 1921-1926 )
- ลอร์ด เออร์วิน ( Lord Irwin 1926-1931)
- ลอร์ด วิลลิงดอน ( Lord Willingdon 1931-1936)
- ลอร์ด ลินลิธโกว์ ( Lord Linlithgow 1936-1944 )
- ลอร์ด วาเวลล์ ( Lord Wavell 1944-1947 )
- ลอร์ด เมาท์แบทเทน ( Lord Mounbatten 1947 มอบเอกราชคืนกลับสู่อินเดีย )
ตำแหน่งอุปราชมีหน้าที่เป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแทนกษัตริย์อังกฤษ โดยมีอำนาจเสมือนดั่งเป็นกษัตริย์ของอังกฤษ
Lord Mounbatten
กังวาล ทองเนตร รัฐศาสตร์การปกครอง มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น