ญี่ปุ่นมีเนื้อที่ 377,819 ตารางกิโลเมตร หรือ 145,856 ตารางไมค์
ประกอบด้วยเกาะใหญ่ๆอยู่ 4 เกาะคือ
- เกาะฮอนชู
- เกาะฮอกไกโด
- เกาะชิโกกุ
- เกาะกิวชิว
ในบรรดาเกาะใหญ่ เกาะ ฮอนชูมีเนื้อที่มากที่สุดคือร้อยละ 60 ของเนื้อที่ของทั้งประเทศ
และยังมีเกาะเล็กๆอีก มากกว่า 3,900 เกาะ
ประเทศญี่ปุ่นปกครองโดยระบอบประชาธิปไตย รูปแบบรัฐสภา มีสมเด็จพระจักรพรรดิ์เป็นประมุขแห่งรัฐ
มีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร
นายกรัฐมนตรีเป็นผู้แต่งแต่งรัฐมนตรี จำนวน 20 คน จากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
นอกจากนี้คณะรัฐมนตรียังมีอำนาจในการแต่งตั้ง หัวหน้าผู้พิพากษาศาลสูงสุด รวมถึงผู้พิพากษาอื่นๆอีก
ญี่ปุนมี 47 จังหวัด และ 3,235 เทศบาล และมีเทศบาลนครอีกประมาณ 12 เทศบาล
ญี่ปุ่นแบ่งการบริหารราชการออกเป็น 2 ส่วน คือรัฐบาลกลาง และท้องถิ่น
ญี่ปุ่นมี 47 จังหวัด และ 3,235 เทศบาล
เทศบาล นครขนาดใหญ่มี 12 เทศบาล ญี่ปุ่นเป็นอีกประเทศที่ให้ความสำคัญกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น ซึ่งการปกครองส่วนท้องถิ่นของญี่ปุ่น แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ เช่นเดียวกับไทย คือ แบบทั่วไป และแบบพิเศษ
หน่วยปกครองท้องถิ่นแบบจังหวัดมี 47 แห่ง เรียกชื่อต่างกันออกไป คือ
หน่วยปกครองท้องถิ่นแบบจังหวัดมี 47 แห่ง เรียกชื่อต่างกันออกไป คือ
โต (To) โด (Do) ฟู (Fu) และ เคน (Ken)
โตเกียวเป็นเมืองหลวง เป็นมหานคร จึงเรียกว่า โตเกียว โต
โตเกียวเป็นเมืองหลวง เป็นมหานคร จึงเรียกว่า โตเกียว โต
และหน่วยจังหวัดที่รองลงมาเรียกว่า โด มีฮอกไกโด เพียงแห่งเดียว
ส่วน ฟู มี 2 หน่วย คือ เกียวโต และโอซาก้า ที่เหลือเป็น เคน ทั้งหมด
หน่วยปกครองท้องถิ่นระดับล่างสุดคือ เทศบาล
ในเทศบาลแบ่งย่อยออกเป็น นคร (city) หรือ ชิ ( chi)
เมือง (town) หรือ โช cho
เมือง (town) หรือ โช cho
และระดับหมู่บ้าน เรียกว่า ชอน son
เทศบาล นครต้องมีประชากร 50,000คนขึ้นไป
รูปแบบพิเศษ
เทศบาล นครต้องมีประชากร 50,000คนขึ้นไป
รูปแบบพิเศษ
เรียกว่า กุ ku
รูปแบบนี้ใช้ใน โตเกียวเท่านั้น มีทั้งสิ้น 23 เทศบาล นอกจากนี้ ญี่ปุ่นยังมีรูปแบบพิเศษอีก เรียกว่า Municpal Cooperatives รูปแบบนี้เป็นการรวมกันตั้งแต่ 2 เทศบาลขึ้นไป เพื่อเพื่อร่วมกันทำ ภาระกิจอย่างใดอย่างหนึ่ง ( ซึ่งน่าสนใจ) และยังมีหน่วยปกครองที่จัดตั้งขึ้นเพื่อจัดการทรัพย์สินและสาธารณะประโยชน์ร่วมกันอีก
นายกรัฐมนตรีญี่ปุนถึงปัจจุบันมีทั้งสิ้น 62 คน ดังรายชื่อต่อไปนี้
สมัยไทโช: พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) - พ.ศ. 2469 (ค.ศ. 1926)
นายกรัฐมนตรีในรัชกาลของสมเด็จพระจักรพรรดิไทโชคนที่ | ชื่อ | รูป | เริ่มวาระ | สิ้นสุดวาระ | สังกัด | ||
---|---|---|---|---|---|---|---|
คะสึระ ทะโร | 21 ธันวาคม พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) | 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2456 (ค.ศ. 1913) (สมัยที่ 3) | ไม่มี | ||||
8 | กงเบ ยะมะโมะโตะ | 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2456 (ค.ศ. 1913) | 16 เมษายน พ.ศ. 2457 (ค.ศ. 1914) | สมาคมริกเกงเซยูไก | |||
ชิเงะโนะบุ โอคุมะ | 16 เมษายน พ.ศ. 2457 (ค.ศ. 1914) | 9 ตุลาคม พ.ศ. 2459 (ค.ศ. 1916) (สมัยที่ 2) | |||||
9 | มะซะทะเกะ เทะระอุจิ | 9 ตุลาคม พ.ศ. 2459 (ค.ศ. 1916) | 29 กันยายน พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) | ไม่มี | |||
10 | ทะกะชิ ฮะระ | 29 กันยายน พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) | 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2464 (ค.ศ. 1921) | สมาคมริกเกงเซยูไก | |||
11 | โคะเระคิโยะ ทะกะฮะชิ | 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2464 (ค.ศ. 1921) | 12 มิถุนายน พ.ศ. 2465 (ค.ศ. 1922) | สมาคมริกเกงเซยูไก | |||
12 | โทะโมะซะบุโร คะโต | 12 มิถุนายน พ.ศ. 2465 (ค.ศ. 1922) | 2 กันยายน พ.ศ. 2466 (ค.ศ. 1923) | ||||
กงเบ ยะมะโมะโตะ | 2 กันยายน พ.ศ. 2466 (ค.ศ. 1923) | 7 มกราคม พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924) (สมัยที่ 2) | |||||
13 | เคโงะ คิโยะอุระ | 7 มกราคม พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924) | 11 มิถุนายน พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924) | ||||
14 | ทะกะอะกิ คะโต | 11 มิถุนายน พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924) | 28 มกราคม พ.ศ. 2469 (ค.ศ. 1926) | ||||
15 | เรจิโร วะกะสึกิ | 30 มกราคม พ.ศ. 2469 (ค.ศ. 1926) | 20 เมษายน พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1927) |
นายกรัฐมนตรีในรัชกาลของสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ
ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2: พ.ศ. 2469 (ค.ศ. 1926) - พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945)
คนที่ | ชื่อ | รูป | เริ่มวาระ | สิ้นสุดวาระ | สังกัด | ||
---|---|---|---|---|---|---|---|
16 | กิอิจิ ทะนะกะ | 20 เมษายน พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1927) | 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2472 (ค.ศ. 1929) | สมาคมริกเกงเซยูไก | |||
17 | โอะซะจิ ฮะมะงุจิ | 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2472 (ค.ศ. 1929) | 14 เมษายน พ.ศ. 2474 (ค.ศ. 1931) | พรรคริกเกงมิงเซ | |||
เรจิโร วะกะสึกิ | 14 เมษายน พ.ศ. 2474 (ค.ศ. 1931) | 13 ธันวาคม พ.ศ. 2474 (ค.ศ. 1931) (สมัยที่ 2) | พรรคริกเกงมิงเซ | ||||
18 | สีโยะชิ อินุไก | 13 ธันวาคม พ.ศ. 2474 (ค.ศ. 1931) | 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 (ค.ศ. 1932) | สมาคมริกเกงเซยูไก | |||
19 | มะโคะโตะ ไซโต | 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 (ค.ศ. 1932) | 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2477 (ค.ศ. 1934) | ||||
20 | เคซุเกะ โอะกะดะ | 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2477 (ค.ศ. 1934) | 9 มีนาคม พ.ศ. 2479 (ค.ศ. 1936) | ||||
21 | โคกิ ฮิโระตะ | 9 มีนาคม พ.ศ. 2479 (ค.ศ. 1936) | 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2480 (ค.ศ. 1937) | ||||
22 | เซงจูโร ฮะยะชิ | 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2480 (ค.ศ. 1937) | 4 มิถุนายน พ.ศ. 2480 (ค.ศ. 1937) | ||||
23 | เจ้าชายโคโนอิ ฟุมิมาโระ | 4 มิถุนายน พ.ศ. 2480 (ค.ศ. 1937) | 5 มกราคม พ.ศ. 2482 (ค.ศ. 1939) | ||||
24 | คิอิจิโร ฮิระนุมะ | 5 มกราคม พ.ศ. 2482 (ค.ศ. 1939) | 30 สิงหาคม พ.ศ. 2482 (ค.ศ. 1939) | ||||
25 | โนะบุยุกิ อะเบะ | 30 สิงหาคม พ.ศ. 2482 (ค.ศ. 1939) | 16 มกราคม พ.ศ. 2483 (ค.ศ. 1940) | ||||
37 | 26 | มิสีมะซะ โยะไน | 16 มกราคม พ.ศ. 2483 (ค.ศ. 1940) | 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2483 (ค.ศ. 1940) | |||
เจ้าชายโคโนอิ ฟุมิมาโระ | 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2483 (ค.ศ. 1940) | 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 (ค.ศ. 1941) | |||||
18 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 (ค.ศ. 1941) | 18 ตุลาคม พ.ศ. 2484 (ค.ศ. 1941) (สมัยที่ 2, 3) | ||||||
27 | ฮิเดะกิ โทโจ | 18 ตุลาคม พ.ศ. 2484 (ค.ศ. 1941) | 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2487 (ค.ศ. 1944) | ไม่มี | |||
28 | คุนิอะกิ โคะอิโซะ | 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2487 (ค.ศ. 1944) | 7 เมษายน พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) | ไม่มี | |||
29 | คันทะโร ซุซุกิ | 7 เมษายน พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) | 17 สิงหาคม พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) |
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2: พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) - พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989)
คนที่ | ชื่อ | รูป | เริ่มวาระ | สิ้นสุดวาระ | พรรค | ||
---|---|---|---|---|---|---|---|
30 | เจ้าชายนะรุฮิโตะแห่งฮิงะชิคุนิ | 17 สิงหาคม พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) | 9 ตุลาคม พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) | ||||
31 | คิจูโร ชิเดะฮะระ | 9 ตุลาคม พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) | 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) | ||||
32 | ชิเงะรุ โยะชิดะ | 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) | 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 (ค.ศ. 1947) | พรรคเสรี | |||
33 | เทสึ คะตะยะมะ | 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 (ค.ศ. 1947) | 10 มีนาคม พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) | พรรคสังคมนิยม | |||
34 | ฮิโตะชิ อิชิดะ | 10 มีนาคม พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) | 15 ตุลาคม พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) | พรรคประชาธิปไตย | |||
ชิเงะรุ โยะชิดะ | 15 ตุลาคม พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) | 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) | พรรคเสรี | ||||
16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) | 30 ตุลาคม พ.ศ. 2495 (ค.ศ. 1952) | ||||||
30 ตุลาคม พ.ศ. 2495 (ค.ศ. 1952) | 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 (ค.ศ. 1953) | ||||||
21 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 (ค.ศ. 1953) | 10 ธันวาคม พ.ศ. 2497 (ค.ศ. 1954) สมัยที่ 2 ถึง 5 | ||||||
35 | อิจิโร ฮะโตะยะมะ | 10 ธันวาคม พ.ศ. 2497 (ค.ศ. 1954) | 19 มีนาคม พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) | พรรคประชาธิปไตย | |||
19 มีนาคม พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) | 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) | ||||||
22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) | 23 ธันวาคม พ.ศ. 2499 (ค.ศ. 1956) | พรรคเสรีประชาธิปไตย | |||||
36 | ทังซัง อิชิบะชิ | 23 ธันวาคม พ.ศ. 2499 (ค.ศ. 1956) | 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957) | พรรคเสรีประชาธิปไตย | |||
37 | โนะบุซุเกะ คิชิ | 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957) | 12 มิถุนายน พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) | พรรคเสรีประชาธิปไตย | |||
12 มิถุนายน พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) | 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 (ค.ศ. 1960) | ||||||
38 | ฮะยะโตะ อิเกะดะ | 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 (ค.ศ. 1960) | 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506 (ค.ศ. 1960) | พรรคเสรีประชาธิปไตย | |||
8 ธันวาคม พ.ศ. 2503 (ค.ศ. 1960) | 9 ธันวาคม พ.ศ. 2506 (ค.ศ. 1963) | ||||||
9 ธันวาคม พ.ศ. 2506 (ค.ศ. 1963) | 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964) | ||||||
39 | เอซะกุ ซะโต | 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964) | 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 (ค.ศ. 1967) | พรรคเสรีประชาธิปไตย | |||
17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 (ค.ศ. 1967) | 14 มกราคม พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970) | ||||||
14 มกราคม พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970) | 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) | ||||||
40 | คะกุเอ ทะนะกะ | 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) | 22 ธันวาคม พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) | พรรคเสรีประชาธิปไตย | |||
22 ธันวาคม พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) | 9 ธันวาคม พ.ศ. 2517 (ค.ศ. 1974) | ||||||
41 | ทะเกะโอะ มิกิ | 9 ธันวาคม พ.ศ. 2517 (ค.ศ. 1974) | 24 ธันวาคม พ.ศ. 2519 (ค.ศ. 1976) | พรรคเสรีประชาธิปไตย | |||
42 | ทะเกะโอะ ฟุกุดะ | 24 ธันวาคม พ.ศ. 2519 (ค.ศ. 1976) | 7 ธันวาคม พ.ศ. 2521 (ค.ศ. 1978) | พรรคเสรีประชาธิปไตย | |||
43 | มะซะโยะชิ โอฮิระ | 7 ธันวาคม พ.ศ. 2521 (ค.ศ. 1978) | 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) | พรรคเสรีประชาธิปไตย | |||
9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) | 12 มิถุนายนพ.ศ. 2523 (ค.ศ. 1980) | ||||||
44 | เซงโก ซุซุกิ | 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2523 (ค.ศ. 1980) | 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) | พรรคเสรีประชาธิปไตย | |||
45 | ยะซุฮิโระ นะงะโซะเนะ | 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) | 27 ธันวาคม พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) | พรรคเสรีประชาธิปไตย | |||
27 ธันวาคม พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) | 22 กรกฎาคมพ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) | ||||||
22 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) | 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) | ||||||
46 | โนะโบะรุ ทะเกะชิตะ | 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) | 3 มิถุนายน พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) | พรรคเสรีประชาธิปไตย |
สมัยเฮเซ: พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) - ปัจจุบัน
เริ่มนับตั้งแต่สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะเสด็จขึ้นครองราชย์คนที่ | ชื่อ | รูป | เริ่มวาระ | สิ้นสุดวาระ | พรรค | ||
---|---|---|---|---|---|---|---|
47 | โซซุเกะ โอะโนะ | 3 มิถุนายน พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) | 10 สิงหาคม พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) | พรรคเสรีประชาธิปไตย | |||
48 | โทะชิกิ ไคฟุ | 10 สิงหาคม พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) | 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) | พรรคเสรีประชาธิปไตย | |||
28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) | 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991) | ||||||
49 | คิอิจิ มิยะซะวะ | 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991) | 9 สิงหาคม พ.ศ. 2536 (ค.ศ. 1993) | พรรคเสรีประชาธิปไตย | |||
50 | โมะริฮิโระ โฮะโซะงะวะ | 9 สิงหาคม พ.ศ. 2536 (ค.ศ. 1993) | 28 เมษายน พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994) | พรรคญี่ปุ่นใหม่ | |||
51 | สึโตะมุ ฮะตะ | 28 เมษายน พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994) | 30 มิถุนายน พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994) | พรรค Renewal | |||
52 | โทะมิอิจิ มุรุยะมะ | 30 มิถุนายน พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994) | 11 มกราคม พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) | พรรคสังคม | |||
53 | ริวทะโร ฮะชิโมะโตะ | 11 มกราคม พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) | 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) | พรรคเสรีประชาธิปไตย | |||
7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) | 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 (ค.ศ. 1998) | ||||||
54 | เคโซ โอะบุจิ | 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 (ค.ศ. 1998) | 5 เมษายน พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) | พรรคเสรีประชาธิปไตย | |||
55 | โยะชิโร โมะริ | 5 เมษายน พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) | 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) | พรรคเสรีประชาธิปไตย | |||
4 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) | 26 เมษายน พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001) | ||||||
56 | โคะอิซุมิ จุนอิจิโร | 26 เมษายน พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001) | 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) | พรรคเสรีประชาธิปไตย | |||
19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) | 21 กันยายน พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) | ||||||
21 กันยายน พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) | 26 กันยายน พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) | ||||||
57 | ชินโซ อะเบะ | 26 กันยายน พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) | 26 กันยายน พ.ศ. 2550 (ค.ศ. 2007) | พรรคเสรีประชาธิปไตย | |||
58 | ยะซุโอะ ฟุกุดะ | 26 กันยายน พ.ศ. 2550 (ค.ศ. 2007) | 24 กันยายน พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) | พรรคเสรีประชาธิปไตย | |||
59 | ทะโร อะโซ | 24 กันยายน พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) | 16 กันยายน พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) | พรรคเสรีประชาธิปไตย | |||
60 | ยุกิโอะ ฮะโตะยะมะ | 16 กันยายน พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) | 8 มิถุนายน พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) | พรรคประชาธิปไตย | |||
61 | นะโอะโตะ คัง | 8 มิถุนายน พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) | 30 สิงหาคม พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) | พรรคประชาธิปไตย | |||
62 | โยะชิฮิโกะ โนะดะ | 30 สิงหาคม พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) | อยู่ในตำแหน่ง ปัจจุบัน |
กังวาล ทองนตร รัฐศาสตร์เอกการปกครองมหาวิทยาลัยรามคำแหง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น