การเงิน กับการคลัง มันเป็นคนละอย่างกัน
- ในฐานะที่จบรัฐศาสตร์สายปกครองมา เราจะได้เรียน นโยบายสาธารณะ การจัดทำนโยบายสาธารณะต่างๆมาจนแน่นหัว อธิบายนิดเดียวให้เห็นความต่าง
กรอบมันอยู่ที่ การรับผิดชอบ ในการหารายได้เข้ารัฐเพื่อใช้จ่ายในการบริหารประเทศ การจัดทำงบประมาณต่างๆ เอาแค่นี้พอ
ส่วนนโยบายการเงิน จะเป็นหน้าที่รับผิดชอบของธนาคารกลาง ของประเทศนั้นๆ ของไทยก็ธนาคารแห่งประเทศไทย หรือเรียกติดปากว่าแบงค์ชาติ
ส่วนนโยบายการเงิน จะเป็นหน้าที่รับผิดชอบของธนาคารกลาง ของประเทศนั้นๆ ของไทยก็ธนาคารแห่งประเทศไทย หรือเรียกติดปากว่าแบงค์ชาติ
นโยบายการเงิน
ก็จะตีกรอบว่าด้วยเรื่องการเงินล้วน เช่น การปรับลดอัตราดอกเบี้ย การกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา การดูแลรักษาสภาพเงินเฟ้อ เงินฝืด คืออะไรที่เกี่ยวกับเงิน กับกระแสเงิน ที่เงินมันหมุนเวียนในระบบ และมีปัญหาติดขัด สะดุด เป็นนโยบายการเงิน ซึ่งบริหารนโยบายนี้โดยแบงค์ชาติ
อันนี้ความคิดเห็นผมเอง ผมพบว่าพักหลังมานี่ การเงินกับการคลังไม่ไปทางเดียวกัน ไม่สอดคล้องกัน ผลก็อย่างที่เห็นนี่แหละ
- สรุปง่ายๆคือ การคลังมีหน้าที่หาเงินมากองไว้ ไม่ว่าจะทางไหนก็ตาม เช่นเก็บภาษี กู้ ยืม เงินบริจาค การลงทุน เป็นต้น แล้วได้เงินมากองไว้ ให้เป็นรายได้และรายจ่ายให้รัฐบาล
อันนี้ความคิดเห็นผมเอง ผมพบว่าพักหลังมานี่ การเงินกับการคลังไม่ไปทางเดียวกัน ไม่สอดคล้องกัน ผลก็อย่างที่เห็นนี่แหละ
กังวาล ทองเตร ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น