กระทือ
คลิกที่ภาพเพื่อดูภาพต้นฉบับ
ทองพันชั่่ง ดูข้อมูลเพิ่มเติม ที่นี่
จันแดง
ชื่อสมุนไพรจันทร์แดงชื่อวิทยาศาสตร์
Myristica iners Blume.ชื่ออื่นๆจันทน์ป่า,พร้าวเลดง, สังขยา สรรพคุณแก้ไข้วิธีใช้ตามภูมิปัญาท้องถิ่น
แก่นฝนละลายน้ำดื่ม (1-2 ลิตร) แหล่งข้อมูล นายบรรลุ ไชยบล
บ้านเลขที่ 100 ม. 11
บ. ดินดำ ต. เกิ้ง อ.กันทรวิชัย จ. มหาสารคาม ที่เว็บ.>ที่นี่
จันขาว
|
กลอย
กะเม็งดอกเหลือง
ข้าวเย็นเหนือ
ข้าวเย็นเหนือ
ผักคราดหัวแหวน
จักรนารายณ์
พระจันทร์ครึ่งซีก
ผลชะเอม
ผักคาวตอง
กลิ้งกลางดง (อิสาน เรียกอิลุงปุงเป้า) บำรุงกำหนัด
ลักษณะใบของกลิ้งกลางดง
ชื่อวงศ์ : MENISPERMACEAE
ชื่ออื่น : สบู่เลือด กระท่อมเลือด
รูปลักษณะ : กลิ้งกลางดง เป็นไม้เลื้อย กิ่งก้านมีน้ำยางสีแดง ลำต้นบนดินมีอายุปีเดียว งอกมาจากหัวใต้ดินขนาดใหญ่ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่แกมสามเหลี่ยมกว้าง ขอใบเว้าเล็กน้อย กว้าง 7-12 ซม. ยาว 6-11 ซม. ผิวใบด้านล่างมีขนละเอียดเล็กน้อย ดอกช่อ แยกเพศ ช่อดอกตัวผู้ยาวประมาณ 4-16 ซม. กลีบดอกสีส้ม ช่อดอกตัวเมียอัดกันแน่นมากกว่า ผลเป็นผลสด รูปไข่กลับ
สรรพคุณของ กลิ้งกลางดง : เถา ใช้เถาขับพยาธิ ราก บำรุงเส้นประสาท หัวใต้ดิน ดองเหล้ากินบำรุงกำลัง บำรุงกำหนัด หรือตากแห้ง บด ปั้นเป็นลูกกลอน กินเป็นยาอายุวัฒนะ ช่วยเจริญอาหาร ใบ รักษาแผลสด และแผลเรื้อรัง
ขอบคุณข้อมูลจาก > 1]
ลักษณะใบของกลิ้งกลางดง
กลิ้งกลางดง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Stephania venosa (BP.) Spreng.ชื่อวงศ์ : MENISPERMACEAE
ชื่ออื่น : สบู่เลือด กระท่อมเลือด
รูปลักษณะ : กลิ้งกลางดง เป็นไม้เลื้อย กิ่งก้านมีน้ำยางสีแดง ลำต้นบนดินมีอายุปีเดียว งอกมาจากหัวใต้ดินขนาดใหญ่ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่แกมสามเหลี่ยมกว้าง ขอใบเว้าเล็กน้อย กว้าง 7-12 ซม. ยาว 6-11 ซม. ผิวใบด้านล่างมีขนละเอียดเล็กน้อย ดอกช่อ แยกเพศ ช่อดอกตัวผู้ยาวประมาณ 4-16 ซม. กลีบดอกสีส้ม ช่อดอกตัวเมียอัดกันแน่นมากกว่า ผลเป็นผลสด รูปไข่กลับ
สรรพคุณของ กลิ้งกลางดง : เถา ใช้เถาขับพยาธิ ราก บำรุงเส้นประสาท หัวใต้ดิน ดองเหล้ากินบำรุงกำลัง บำรุงกำหนัด หรือตากแห้ง บด ปั้นเป็นลูกกลอน กินเป็นยาอายุวัฒนะ ช่วยเจริญอาหาร ใบ รักษาแผลสด และแผลเรื้อรัง
ขอบคุณข้อมูลจาก > 1]
ข้าวเย็นเหนือ
ผลข้าวเย็นเหนือ
ผักกาดน้ำ
ผักบุ้งทะเล
ผลของ ฝาง
แก่นฝาง
พรมมิ
ว่านมหากาฬ
สะระแหน่ญี่ปุ่น
สันพร้าหอม
สามสิบ
ต้นส้มป่อย
ฝักส้มป่อย
หญ้าหนอนตาย
หญ้าหนวดแมว
หมาน้อย
เกล็ดปลา
เจตมูลเพลิงขาว
เจตมูลเพลิงแดง
เปล้าน้อย
ใบ - ใช้บำรุงธาตุ แก้โรคกระเพาะ บำรุงโลหิตประจำเดือนมีสาร disterpene alcohol (CS-684 หรือ plaunotol) มีฤทธิ์สมานแผลในกระเพาะอาหารได้เป็นอย่างดี รักษาโรคเกี่ยวกับทางเดินอาหาร เช่น แผลในกระเพาะ
ใบ ราก
- แก้คัน รักษามะเร็งเพลิง
- รักษาโรคผิวหนัง กลาก เกลื้อน
- แก้พยาธิต่างๆ ริดสีดวงทวาร
- แก้ไอเป็นโลหิต
- เป็นยาปฏิชีวนะ
ดอก - ขับพยาธิ ฆ่าพยาธิ
ผล - แก้โรคน้ำเหลืองเสีย
เปลือก - บำรุงธาตุ
แก่น - ขับโลหิต
เปล้าใหญ่
โด่ไม่รู้ล้ม
หมาน้อย
ใช้ใบคั้นกับน้ำทิ้งไว้สักครู่จะกลายเป็นวุ้นเองโดยธรรมชาติโดยไม่ต้องผสมอย่่างอื่น นำไปทำอาหารเช่นยำ หรือลาบ เรียกว่าลาบหมาน้อย
น้ำที่คั้นใหม่ๆสดๆใช้ดื่มกินเพื่อทำการขับสารพิษออกจากร่างกายได้ผลดี เป็นการดีท็อกซ์ร่างกายโดยธรรมชาติ
ลักษณะใบของต้นสำรอง
ลูกสำรองที่ดกเต็มต้น
ลูกสำรองจะมีปีก เมื่อแก่จัดเวลาหลุดร่วงก็จะบินไปตามแรงลมเพื่อขยายเผ่าพันธุ์ของตัวเองออกไป
เมื่อนำสำรองมาแช่น้ำจะพองตัวกลายเป็นวุ้น
ลูกสำรองแห้ง
นำลูกสำรอง
ต้นกล้าสำรอง
มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Scaphium Macropodum Beaum. วงศ์ : Sterculiaceae
ชื่อสามัญ : สำรอง ชื่อพื้นเมือง พุงทลาย ภาคอีสานเรียก บักจอง ชาวจีนเรียก ฮวงไต้ไฮ้
ต้นสำรอง เป็นไม้ยืนต้นชอบขึ้นตามป่าดงดิบ มีความชื้นสูง ลำต้นตรงและสูงชะลูด ประมาณ 4-5 เมตร ไม่นิยมปลูกกัน มักขึ้นเองตามธรรมชาติ ตามภูเขาใหญ่น้อยทั่วไป พบมากทางภาคตะวันออกของประเทศ ได้แก่ จังหวัดจันทบุรี และตราด
ขอบคุณข้อมูลสำรองจากเว็บ [ 1] 2] 3]
สารภี
นำภาพมารวบรวมไว้ให้เห็นเพื่อการศึกษาและเพื่อสืบสานมรดกทางภูมิปัญญาท้องถิ่นของบรรพบุรุษไทย เพื่อรักษาคุณค่าของสมุนไพรไว้ให้ลูกหลาน
และขอขอบคุณภาพจากเจ้าของภาพ เว็บตามที่ข้อความปรากฎในรูปนั้นๆ
This is wonderful website
ตอบกลับลบQassim & QU